กระทู้เก่าบอร์ด อ.Yeadram
1,153 2
URL.หัวข้อ /
URL
การตรวจสอบ field
สวัสดีครับอาจารย์
ผมขอรบกวนอาจารย์หน่อยครับ
ตัวอย่างครับ
1.ผมอยากให้ fiel ตรวจสอบกันและกัน คือ ถ้าว่างก็ว่างด้วยกัน ถ้ามีข้อมูลก็ต้องมีด้วยกัน ถ้าตรวจสอบผ่านตารางโดยตรงจะต้องทำอย่างไร ถ้าผ่านฟอร์มจะต้องทำอย่างไรครับ
2.ผมอยากทราบเคล็ดลับการออกแบบฐานข้อมูลให้ประมวลผลได้เร็วๆ เพราะปัจจุบันข้อมูลช้ามาก เป็นต้นว่า การอ่านจาก คิวรี ฟอร์อม ครับ
=> ขอรบกวนอาจารย์ด้วยครับ
ผมขอรบกวนอาจารย์หน่อยครับ
ตัวอย่างครับ
1.ผมอยากให้ fiel ตรวจสอบกันและกัน คือ ถ้าว่างก็ว่างด้วยกัน ถ้ามีข้อมูลก็ต้องมีด้วยกัน ถ้าตรวจสอบผ่านตารางโดยตรงจะต้องทำอย่างไร ถ้าผ่านฟอร์มจะต้องทำอย่างไรครับ
2.ผมอยากทราบเคล็ดลับการออกแบบฐานข้อมูลให้ประมวลผลได้เร็วๆ เพราะปัจจุบันข้อมูลช้ามาก เป็นต้นว่า การอ่านจาก คิวรี ฟอร์อม ครับ
=> ขอรบกวนอาจารย์ด้วยครับ
2 Reply in this Topic. Dispaly 1 pages and you are on page number 1
2 @R04346
ขอบคุณมากครับอาจารย์
อาจารย์ให้แสงสว่างผมตลอดเลยครับ ขอบคุณมากครับอาจารย์
อาจารย์ให้แสงสว่างผมตลอดเลยครับ ขอบคุณมากครับอาจารย์
Time: 0.4424s
จริงๆ ก็สงสัยมากๆ ว่าทำไมเนื้องานมันถึงได้มีความต้องการอย่างนั้นได้ มันน่าจะขัดแย้งกับหน้าที่ของเรา ("การจัดการข้อมูล")
แต่ก็เอาล่ะไหนๆ ก็ถามมา ผมลองๆ คิดดูเล่นๆ ถ้าทำผ่านฟอร์มนะครับ
คงต้องหาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่เหมาะสมเพื่อ เราจะสั่งการให้มันตรวจสอบ และจัดการ
เช่น เลือกเหตุการณ์ตอนเปิดฟอร์ม
-เขียนสั่งการให้ตรวจสอบเงื่อนไข ว่า ฟิลด์ A = ฟิลด์ B หรือไม่
-เขียนคำสั่งสั่งการให้ทำการคัดลอกข้อมูลระหว่างฟิลด์ กรณีที่ตรวจสอบได้ผลว่า False
-เขียนคำสั่งให้กระทำงานต่อไป หรือไม่เขียนคำสั่งใดๆ กรณีที่ผลการตรวจสอบได้ค่าเป็น True
Private Sub Form_Open(Cancel As Integer)
if me.fieldA<>me.fieldB then
if Not isnull(me.fieldA) then
me.fieldB=me.fieldA
else
me.fieldA=me.fieldB
End if
End if
End Sub
ตอบข้อ2
ปัญหานี้ตอบลำบาก มันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย การแก้ปัญหาอาจมีหลายอย่างที่ต้องทำ แต่ว่าถ้าทำไปแล้ว แต่ละอย่าง แต่ละทางอาจให้ผลในทางบวก เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย จนบางครั้งเราอาจไม่เห็นความแตกต่าง ระหว่างก่อนทำ กับหลังทำ แต่เชื่อเถอะครับ ว่าควรจะทำ
เช่น
- การออกแบบตารางข้อมูลที่ไม่มีข้อมูลซ้ำซ้อน (ไม่ใช่ ซับซ้อน)
- การใช้ดัชนีให้เหมาะสม
- การใช้ความสัมพันธ์
- การหมั่น Compact
- การใช้คิวรี่อย่างชาญฉลาด ไม่ เลือกหลายฟิลด์ ไม่เลือกหลายเรคคอร์ด ควรใช้ where ใช้ group by หรืออาจต้องใช้ Top, Distinc เข้าช่วยให้เยอะ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจง ที่ต้องการเท่านั้น
- การ Backup และแบ่งข้อมูลออกเป็นช่วงๆ เพื่อลดจำนวนเรคคอร์ดให้มีการประมวลผลในแต่ละครั้ง เช่น การแบ่งข้อมูลเอกสารขายออกเป็นตารางละ 1ปี หรือตารางละ 1เดือนเท่านั้น
หรือ................................
รอความเห็นจาก ผู้รู้ท่านอื่นๆ ประกอบครับ