กระทู้เก่าบอร์ด อ.Yeadram
1,156 9
URL.หัวข้อ /
URL
สอบถามเรื่องตั้งค่าจำนวนรับสินค้าอัตโนมัติค่ะ
รบกวนขอความช่วยเหลือหน่อยค่ะ
ต้องการสร้างฟอร์มรับสินค้า โดยเมื่อเรากรอกข้อมูลผู้รับกับวันที่รับในฟอร์มหลักแล้ว ตรงฟอร์มย่อยจะปรากฏรายการสินค้าทั้งหมดค่ะ
ถ้าตั้งค่าจำนวนรับเริ่มต้นเป็น 0 ทั้งหมดแล้วมาแก้ไขจำนวนอีกครั้งจะมีขั้นตอนอย่างไรบ้างคะ
หรือมีข้อเสนอแนะอย่างอื่นในการที่จะทำให้รายการสินค้าทั้งหมดปรากฏในฟอร์มบ้างมั้ยคะ เพราะต้องการเซ็ตหน้ารับให้มีรายการเหมือนแบบฟอร์มรับสินค้า(ฟอร์มกระดาษ)ที่ใช้อยู่ค่ะ ซึ่งคนคีย์ข้อมูลสะดวกกับรูปแบบฟอร์มเดิมมากกว่าค่ะ
ขอบคุณสำหรับคำตอบล่วงหน้าค่ะ
ต้องการสร้างฟอร์มรับสินค้า โดยเมื่อเรากรอกข้อมูลผู้รับกับวันที่รับในฟอร์มหลักแล้ว ตรงฟอร์มย่อยจะปรากฏรายการสินค้าทั้งหมดค่ะ
ถ้าตั้งค่าจำนวนรับเริ่มต้นเป็น 0 ทั้งหมดแล้วมาแก้ไขจำนวนอีกครั้งจะมีขั้นตอนอย่างไรบ้างคะ
หรือมีข้อเสนอแนะอย่างอื่นในการที่จะทำให้รายการสินค้าทั้งหมดปรากฏในฟอร์มบ้างมั้ยคะ เพราะต้องการเซ็ตหน้ารับให้มีรายการเหมือนแบบฟอร์มรับสินค้า(ฟอร์มกระดาษ)ที่ใช้อยู่ค่ะ ซึ่งคนคีย์ข้อมูลสะดวกกับรูปแบบฟอร์มเดิมมากกว่าค่ะ
ขอบคุณสำหรับคำตอบล่วงหน้าค่ะ
9 Reply in this Topic. Dispaly 1 pages and you are on page number 1
2 @R22987
ส่วนการออกแบบ Table นั้น ควรเป็นดังนี้
Table 1. PO หลักสำคัญคือ กำหนด POID เป็น Primary Key = Auto Numberส่วนที่เหลือก็เป็น PONo, SuplID, PODate, Currency อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
Table 2. POItem หลักสำคัญ คือ กำหนด POItemID = Primary Key = Auto Number และ POID = Long ส่วนที่เหลือจะเป็น LnNo, StkID, StkDesc, POQty, POUnit, PlnDeilDate อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table PO กับ POItem ด้วยฟิล์ด POID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
Table 3. PORev หลักสำคัญ คือ กำหนด PORevID = Auto Number และ POItemID เป็น Long
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table POItem กับ PORev ด้วยฟิล์ด POItemID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
Table 1. PO หลักสำคัญคือ กำหนด POID เป็น Primary Key = Auto Numberส่วนที่เหลือก็เป็น PONo, SuplID, PODate, Currency อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
Table 2. POItem หลักสำคัญ คือ กำหนด POItemID = Primary Key = Auto Number และ POID = Long ส่วนที่เหลือจะเป็น LnNo, StkID, StkDesc, POQty, POUnit, PlnDeilDate อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table PO กับ POItem ด้วยฟิล์ด POID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
Table 3. PORev หลักสำคัญ คือ กำหนด PORevID = Auto Number และ POItemID เป็น Long
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table POItem กับ PORev ด้วยฟิล์ด POItemID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
3 @R22988
เผลอไป เอาใหม่
Table 3. PORev หลักสำคัญ คือ กำหนด PORevID = Auto Number และ POItemID เป็น Long ส่วนที่เหลือจะเป็น RevDate, InvNo, InvQty อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table POItem กับ PORev ด้วยฟิล์ด POItemID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
แถม
Table 4. POPay หลักสำคัญ คือ กำหนด POPayID = Primary Key = Auto Number และ POID = Long ส่วนที่เหลือจะเป็น VoucNo, PayQty อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table PO กับ POPay ด้วยฟิล์ด POID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
ซึ่งการออกแบบ Table ที่ 4 รองรับเงื่อนไขการจ่ายครั้เดียวตอนจบ PO หรือแบ่งจ่ายได้ทั้ง 2 กรณี
Table 3. PORev หลักสำคัญ คือ กำหนด PORevID = Auto Number และ POItemID เป็น Long ส่วนที่เหลือจะเป็น RevDate, InvNo, InvQty อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table POItem กับ PORev ด้วยฟิล์ด POItemID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
แถม
Table 4. POPay หลักสำคัญ คือ กำหนด POPayID = Primary Key = Auto Number และ POID = Long ส่วนที่เหลือจะเป็น VoucNo, PayQty อะไรก็ว่าไปตามสะดวก
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Table PO กับ POPay ด้วยฟิล์ด POID กำหนดความสัมพันธ์แบบ One to Many
ซึ่งการออกแบบ Table ที่ 4 รองรับเงื่อนไขการจ่ายครั้เดียวตอนจบ PO หรือแบ่งจ่ายได้ทั้ง 2 กรณี
4 @R22989
ส่วนการสร้างฟอร์มขอเวลาเรียบเรียงหน่อยเพราะซับซ้อน แต่โค๊ดไม่เยอะ สั้นๆ ได้ใจความ แต่การที่จะมาเขียนอธิบายเป็นตัวอักษรนั้นก็เอาการ
เอาเป็นว่าเดี๋ยวจะทำตัวอย่างเพื่อท่านอื่นๆ ต้องการศึกษาด้วย น่าจะดีและประหยัดการเวลาในการอธิบายการเขียนโค๊ต
ถ้าเสร็จแล้วจะมาโพสต์แจ้งก็แล้วกันะครับ
เอาเป็นว่าเดี๋ยวจะทำตัวอย่างเพื่อท่านอื่นๆ ต้องการศึกษาด้วย น่าจะดีและประหยัดการเวลาในการอธิบายการเขียนโค๊ต
ถ้าเสร็จแล้วจะมาโพสต์แจ้งก็แล้วกันะครับ
5 @R22995
ขอบคุณสำหรับคำตอบมากค่ะ ตัวโปรแกรมที่จะทำเป็นโปรแกรมคลังเล็กๆ ใช้ในหน่วยงาน แต่ตอนรับของมีแยกหลายประเภท แล้วฟอร์มกระดาษที่ใช้อยู่จะแยกย่อยเป็นแต่ละประเภทแล้วก็หลายรายการ ทางคนคีย์เลยอยากได้รูปแบบฟอร์มที่ไม่แตกต่างจากฟอร์มกระดาษเท่าไร คือเปิดมาแล้วเห็นรายการของทั้งหมดตามแบบฟอร์มกระดาษเลยค่ะ fix ตำแหน่งรายการของตามฟอร์มกระดาษเพื่อให้ง่ายต่อการคีย์ข้อมูล
ถ้าเราจะ set ให้ค่าจำนวนรับเริ่มต้นเป็น 0 ทั้งหมด รายการสินค้าทั้งหมดจะปรากฏในรายการรับนั้นมั้ยคะ ถ้ามีแนวทางก็จะลองพยายามดูก่อนค่ะ แต่ถ้าไม่ได้คงต้องต่อรองให้คีย์รายการรับทีละตัว
ขอบคุณสำหรับคำตอบมากค่ะ
ถ้าเราจะ set ให้ค่าจำนวนรับเริ่มต้นเป็น 0 ทั้งหมด รายการสินค้าทั้งหมดจะปรากฏในรายการรับนั้นมั้ยคะ ถ้ามีแนวทางก็จะลองพยายามดูก่อนค่ะ แต่ถ้าไม่ได้คงต้องต่อรองให้คีย์รายการรับทีละตัว
ขอบคุณสำหรับคำตอบมากค่ะ
6 @R22998
กรณีเปิด form มาเห็นข้อมูลทั้งหมดทั้งที่ไม่เคยใส่ค่า
อาจจะทำเป็น temporary Table ที่มีข้อมูลรอไว้หมดแล้วก็ได้ครับ
อาจจะทำเป็น temporary Table ที่มีข้อมูลรอไว้หมดแล้วก็ได้ครับ
7 @R22999
ขอบคุณค่ะ พอจะยกตัวอย่างการทำ temporary table ให้ดูหน่อยได้มั้ยคะ
8 @R23001
ไม่ค่อยเข้าใจนะครับ ว่าต้องการฟอร์มหน้าตาแบบไหน
ลองดูไฟล์นี้ครับว่า ลักษณะแบบแสดงสินค้าทั้งหมดแล้วให้ผู้ใช้เลือกประมาณนี้ป่าว
โหลดไฟล์ตัวอย่าง
ปรับใช้ดูครับ
ลองดูไฟล์นี้ครับว่า ลักษณะแบบแสดงสินค้าทั้งหมดแล้วให้ผู้ใช้เลือกประมาณนี้ป่าว
โหลดไฟล์ตัวอย่าง
ปรับใช้ดูครับ
9 @R23004
temporary table ก็เช่น สร้าง table ขี้นมาเพื่อการณ์นี้โดยเฉพาะ
โดยใน table นี้จะมาข้อมูลที่เราต้องการใช้
เช่น ของคุณคือรายการสินค้า พร้อมทั้งลำดับที่ต้องการแสดง และ จำนวนเป็น 0
เอาไป link เข้ากับ form ตอนเปิด
พอตอน save ก็ Insert ข้อมูลชุดนี้ ลงไปใน table จริง (table รายการรับสินค้า)
แล้ว clear ค่าใน table นี้ให้เป็น 0 เหมือนเดิม เพื่อใช้งานในครั้งต่อไป
โดยใน table นี้จะมาข้อมูลที่เราต้องการใช้
เช่น ของคุณคือรายการสินค้า พร้อมทั้งลำดับที่ต้องการแสดง และ จำนวนเป็น 0
เอาไป link เข้ากับ form ตอนเปิด
พอตอน save ก็ Insert ข้อมูลชุดนี้ ลงไปใน table จริง (table รายการรับสินค้า)
แล้ว clear ค่าใน table นี้ให้เป็น 0 เหมือนเดิม เพื่อใช้งานในครั้งต่อไป
Time: 0.3445s
พอจะได้แนะได้ดังนี้ครับ
1. ในฟอร์มหลักรับสินค้า ควรจะอ้างอิงจาก ใบ PO. จะดีกว่า เนื่องจากในระบบเลขที่ PO. จะมีเพียงหนึ่งเดียวทำนั้น ทำให้ป้องกันการคคีร์ข้อมูลผิด PO. ได้ด้วย
ลองนึกถึงความเป็นจริงว่า เวลาเปิด PO. 1 Supplier นั้นมีหลายเลขที่แน่นอน
2. ในฟอร์มหลักต้องมี Sub Form 2 ตัว
- Sum Form ตัวที่ 1 เป็น PO item รายการสั่งซื้อ เพื่อเป็นแสดงรายการสินค้าในแต่ละ PO ที่ User เลือก
- Sum Form ตัวที่ 2 เป็นข้อมูลการคีร์รับของ PO item แต่ละรายการ ขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้คือ ในความเป็นจริง การส่งของของ Supplier จะมีกรณี การส่งของ,ส่งของเกิน, ส่งของมากกว่า 1 ครั้ง ในแต่ละ PO item
ดังนั้น เพื่อแสดงข้อมูลประวัติ การคีร์รับสินค้าแต่ละรายการของ PO item รายการ ก่อนหน้าและรายการที่จะเพิ่มใหม่นี้ ต้องทำในรายการบน Sub Form ที่ 2 นี้
จะเป็นการง่ายคีร์รับเข้าและค้นเพื่อตรวจสอบประวัติ การรับของใน PO. แต่ละเลขที่